สัมผัสวิถีชุมชนบ้านแม่แจ๋ม จังหวัดลำปาง

สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านครั้งนี้ ทีมงาน นิวดีไลท์ของเรา จะพาท่านผู้อ่านไปสัมผัสวิถี ชีวิตชุมชนชาวบ้าน  ณ ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม หมู่ที่  1  ตำบลแจ้ซ้อน   อำเภอเมืองปาน  จังหวัดลำปาง

เริ่มกันเลยดีกว่ากับ ที่แรก หมู่บ้านท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม

เส้นทางโครงการหลวงตัดผ่าน ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม  เลขที่ ๑๒๕๒  สายแจ้ซ้อนข ปางแฟน  เส้นทางที่มุ่งตรงมาจาก อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

เส้นทางโครงการหลวงตัดผ่าน ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม  เลขที่ ๑๒๕๒  มุ่งตรงมาจาก ตำบลห้วยแก้ว  อำเภอแม่ออน  จังหวัดเชียงใหม่

จากปากทางเข้าสู่หมู่บ้าน  ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธณธรรมชุมชนแม่แจ๋ม  ตรงขึ้นไป ประมาณ ๑๐๐  เมตร จะพบ จุดที่  ๑  (หากมุ่งตรงมาจาก จ.ลำปาง จะอยู่ด้าน ซ้ายมือ หากมุ่งตรงมาจาก จ.เชียงใหม่ จะอยู่ด้านขวามือ) ป้ายบอกชื่อหมู่บ้าน ขนาดใหญ่   บนเนินขนาดหย่อม  ตั้งเป็นจุดเด่น สำหรับบอกจุดหมายปลายทาง และ สำหรับเป็นจุดแวะถ่ายภาพ จุดที่ ๑

ร้านกาแฟจากเส้นทางมุ่งตรงมาจาก ทางเข้า ผ่าน ทางขึ้นวัดประจำชุมชนแม่แจ๋ม วัดเวียงหวาย สัก เล็กน้อย  จะพบ  ร้านขายของชำ ประจำหมู่บ้าน  อีก หนึ่งร้าน  อยู่ติดปากทางเข้า โฮมสเตย์ประจำหมู่บ้าน ที่ได้ทำการรื้อถอนปรับปรุง  เป็น ร้านกาแฟ   ณ  ปัจจุบัน ดืทำการปรับปรุง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และ พร้อมให้บริการแก่นักท่องเที่ยว  แล้วใน เบื้องต้น (เหลือแต่พัฒนาฝีมือ การเป็น มือชงกาแฟ)  และ รูปภาพ โชนต่าง ภายในบริเวณร้านกาแฟ  ซึ่ง อยู่บนชั้น สอง ส่วนพื้นที่ด้านล่าง แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนแรก จัดเป็นร้านบริการ อาหาร และ ส่วนที่ ๒ จัดเป็นที่ตั้งวางจำหน่ายเครื่องอุปโภค บริโภค ทั่วไปในชีวิตประจำวัน ซึ่ง ด้านหน้าร้าน มีการติดป้าย บอกกล่าวว่า ได้เข้าร่วม โครงการประชารัฐ ธงฟ้า ด้วย.  หมายเหตุ : ชั้น ๒ โซนบริการเครื่องดื่ม  มีการจัดนำตู้โชว์ แสดง  ลักษณะเมล็ดกาแฟ ถึงความเข้มข้น ของรสชาติที่จะได้มา จากลักษณะของเมล็ดกาแฟที่ต่างกัน

ผลิตภัณฑ์  ที่ ชาวบ้านภายในชุมชน ทำขึ้น การแช่อิ่ม มะขามป้อม และ ลูกไนย   หลังกิจกรรมการแปรรูปอาหาร เมื่อ  ๓ ครั้ง ที่ผ่านมา จากการลงปฏิบัติงานภาคสนาม ของ ทีมงานปฏิบัติงานภาคสนาม กิจกรรมอบรมเพื่อกำหนดแผนพัฒนาด้านการท่องเที่ยว   นำมา ตัวอย่าง ที่ได้กลับ ไปทำ แล้ว นำมา ให้  ทาง เจ้าหน้าทีมงานได้ทดลลอง ชิม และ  ประเมิน ในเบื้องต้น  ซึ่งผลปรากฏว่า การแช่อิ่ม แปรรูปผลิตภัณฑ์ มะขามป้อม ยัง ไม่ดี เท่าที่ควรนัก ซึ่ง มีสาเหตุ มาจาก การ ขาดความเอาใจใส่ ในการนำมาพึ่งและ นำกลับไปแช่อิ่ม  รวมไปถึงกรรมวิธี ที่อาจมีข้อผิดพลาด ต่างจาก ลูกไนย ดองซึ่ง มีรสชาตที่ดี  อย่างเกินคาด

จาก การลงปฏิบัติงานภาคสนาม ทีมปฏิบัติงานภาคสนาม กิจกรรมอบรมเพื่อกำหนดแผนพัฒนาด้านการท่องเที่ยว  ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม   หมู่ที่  1   ตำบลแจ้ซ้อน   อำเภอเมืองปาน   จังหวัดลำปาง   จากการลงพื้นที่ เพื่อจัดเก็บข้อมูลในเบื้องต้น พบว่า ภายในชุนชน และ ชุมชน ที่เกี่ยวข้อง รายล้อมอยู่  มี อดีต ความผูกพัน และ  เรื่องเล่า  เกี่ยวกับ สัตว์เลี้ยงเพื่อใช้งาน จำพวก ม้าและ วัว  และ  ๑ ใน ทีม งาน มีความคิดเห็นนำเสนอ จัดทำโครงการเพาะเลี้ยง สัตว์เลี้ยงเพื่อไว้ใช้งาน เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว จำพวกม้า   ภายในชุมชนท่องเที่ยว ในเบื้องต้น โดยมีการจัดกระบวนการดูแล และควบคุม อย่างเป็นระบบเข้าช่วยเหลือ ชุมชน  โดย สัตว์เลี้ยงเพื่อใช้งาน คือ ม้าป่าสายพันธุ์แท้ ที่เหลือเพียงแห่งเดียวในโลก  และ มี อยู่ในประเทศ เพียงจังหวัดเดียว คือ จังหวัดลำปาง  โดยมีการขอขึ้นทะเบียนจากหน่วยงาน ปศุสัตว์จังหวัดลำปาง  ขอขึ้นทะเบียนเป็น  พันธุ์สัตว์พื้นเมืองประจำถิ่น…………. ม้าแคระ , ม้าป่าสายพันธุ์แท้ , ม้าสายพันธุ์มองโกเลีย   ชื่อท้องถิ่น  ม้าเขลางค์นคร , ม้าลำปาง , ม้าไทยเขลางค์    ชื่อสามัญ : ม้าลำปาง (Thai PonyX   ชื่อทางวิทยาศาสตร์  : Equus ferus caballus  ถิ่นกำเนิด  และ แหล่งที่เลี้ยง  : กระจายอยู่ทั่วประเทศ จะมีอยู่ตามพื้นที่ปิด ไม่มีการนำเข้าม้ามาจากภายนอก  เช่น พื้นที่บนดอยต่าง ๆ  แต่มีพื้นที่ที่เป็นชุมชน ซึ่งมีการเลี้ยงอย่างหนาแน่นในจังหวัดลำปาง

 

สภาพแวดล้อม โดยทั่วไป นับตั้งแต่ทาทงเข้า ชุมชนท่องเที่ยวบ้านแม่แจ๋ม  สองฝั่งทาง จะพบร้านค้าบ้านเรือน และ จะได้พบกับบรรยากาศ กระบวนการผลิตกาแฟนับแต่ การล้างคัดแยก การแกะเปลือกเมล็ดกาแฟ พันธุ์อาราบิกา โดยใช่เครื่อง การผึ่งเมล็ดกาแฟ  ของชาวบ้านชุมชนบ้านแม่แจ๋ม  ไปจนถึง พบ  แปลงเกษตรเพาะชำดอกกล้วยไม้ โครงการหลวงในพระราชดำริ พันธ์ซีมีเดียม

จากข้อมูลการลงพื้นที่ สอบถาม ชาวบ้าน ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม หมู่.๑  ต.แจ้ซ้อน  อ.เมืองปาน จ.ลำปาง  กลุ่มเพาะปลูกกล้วยไม้ สายพันธุ์ซิมบิเดียม  โดย มี ประธานกลุ่ม นาย มานิตย์ และ นางดาวเรือง (ภรรยา) พบว่า การเพาะกล้วยไม้ นั้น ได้รับสายพันธุ์มากจากมูลนิธิโครงการหลวง ฯ   นำมาลงทุน  เพาะปลูกขยายพันธุ์ และ ตัดดอก นำส่ง โครงการหลวงฯ เพียงแห่งเดียว ไม่มีการ จำหน่าย หรือ ตัดช่อดอก นำส่ง ที่อื่น แต่อย่างใด  โดยมี ราคาจำหน่าย ช่อละ ๑๒๕ บาท   โดยจะ มีการ ตัดช่อดอกกล้วยไม้ นำส่ง ที่ สัปดาห์ ละ  ๖๐ – ๑๐๐ ช่อ  คิดเป็น เงิน ๗,๕๐๐ – ๑๒,๕๐๐  บาท.

โดยทั่วไป การขยายพันธุ์  นำยมการแบ่งกอ  การเพาะปลูก  กล้วยไม้ สายพันธุ์ ซิมบิเดียม ปลูกแบบโรงเรือนพลาสติก  ปลูก ใน กระถางใหญ่ ประมาณ ๑- นิ้ว  ยกพื้น เพื่อตัดดอก  ซึ่ง เป็นที่ นิยมกัน.

สถานที่ตั้งวัดประจำชุมชนบ้านแม่แจ๋ม ซึ่งมีเรื่องเล่ามาแต่อดีต ชื่อ วัด เวียงหวาย จากภาพแรก มองจากระยะใกล้ จะพบ เห็น องค์พระปางคืมารวิชัย สีขาว ขนาดใหญ่ มองเห็นได้ชัดแต่ไกล ทางขึน วัดเวียงหวาย ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม จะเป็นทางลาดพื้นปูน ทางเดิน ขึ้นเชิงเขา หลัง เข้าสู้เขตชุมชนบ้านแม่แจ๋มและ เลยผ่าน ศาลาไหว้ผีประจำชุมชน ขึ้นมาสักเล็กน้อย จะพบ ทางขึ้นวัดเวียงหวาย วัดเวียงหวาย จะประกอบด้วย กุฏิที่พักเจ้าอาวาส , อุโบสถ ซึ่ง บริเวณ ลานกว้าง บริเวณด้านหน้าองค์พระพุทธรูปปางมารวิชัย องค์ใหญ่ ถือเป็นจุดชมวิว อีกจุดหนึ่งที่ สามารถมองเห็นชุมชนบ้านแม่แจ๋ม โดยกว้าง ทั้งหมด

จากเส้นทางหลวง   เข้าสู่ เส้นทางแยก วนอุทยานน้ำตกแจ้ซ้อน ผ่าน บริเวณปากทางเข้า วนอุทยานแจ้ซ้อน ตามถนนเส้นทางตัดผ่านโครงการหลวง  มุ่งไต่ระดับ ที่ราบสูง ภูเขา   ผ่านปากทางเข้าหมู่ชุมชนแม่แจ๋ม ซึ่งจะพบ วิถีชีวิตการทำกาแฟ และ  โรงเรือนเพาะปลุก  เพาะปลูกพืช โครงการ ของ ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม และ ร้านค้าชุมน     จนพบป้ายบอกทาง  บริเวณ ๔ แยก  หลัก ของชุมชนบ้านแม่แจ๋ม   ซึ่งบริเวณ ด้านซ้านมือ  จะเป็นทางแยก เข้าสู่ชุมชนป่าคาสันดิ (ไร่เก็บสตอเบอรรี) และ บริเวณปากทางเข้า จะเป็นที่ตั้งศาบาประชาคมชุมชนบ้านแม่แจ๋ม ศาลาพักริมทางสำหรับนักเดินทาง และ ร้านกาแฟสดจันทร์ศิริ    และ แยกด้านขวามือ  (เดิมจะมีร้านค้าของชำ  ซึ่งเป็น ร้านกาแฟสด  กำลังทำการรื้อปรับปรุง) จะเป็นเส้นทางลงสู่ ที่พัก โฮมสเตย์  กลุ่มโฮมสเตย์ ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม    คือ โฮมสเตย์บ้านพรร่มเย็น และ บ้านธารแสงดาว  ให้บริการแก่นักท่องเที่ยวที่มีความต้องการ ท่องเที่ยวชุมชนแม่แจ๋ม และ ต้องการที่พัก

จากภาพแรก ภาพถ่ายจากบริเวณ สี่แยก เส้นทางหลักตัดผ่านชุมชนแม่แจ๋ม (ถนนโครงการหลวง)  ฝั่งเลี้ยวปากทางเข้าสู่เส้นทางชุมชน  (เส้นทางตามแนวโครงการประชารัฐ)   ประมาณ ๕๐๐ เมตร ข้ามสะพานตัดผ่าน ลำธาร ด้านซ้ายมือ  จะเข้าสู่เขตบริเวณ ที่พักโฮมสเตย์ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม  โฮมสเตย์พรร่มเย็น และ โฮมสเตย์ธารแสงดาว  ตามลำดับ  และ ภาพ ด้านในบริเวณห้องพัก  ของ ที่พัก โฮมสเตย์

บรรยากาศสภาพแวดลอมโดย รอบ ที่พัก โฮมสเตย์ บ้านธารแสงดาว  บางส่วน   ทีมปฏิบัติงานภาคสนาม

กิจกรรมอบรมเพื่อกำหนดแผนพัฒนาด้านการท่องเที่ยว ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม   หมู่ที่  1   ตำบลแจ้ซ้อน   อำเภอเมืองปาน   จังหวัดลำปาง       จัดเป็นบริเวณที่พัก  ขนาดกะทัดรัด   ติดรินธารสายหลัก ชุมชน ที่ตัดผ่าน  โฮมสเตย์ เพื่อการรองรับนักท่องเที่ยว  ที่ สนใจ เข้าพักค้างแรม

เมนุหลัก อาหารเช้า  –  เย็น  สำหรับบริการนักท่องเที่ยวผู้เข้าพักโฮมสเตย์ ซึ่งเป็นเมนูแบบง่าย ๆ    ราคาไม่แพงนัก  ที่ราคา  30 – 40 บาท ต่อ 1 อย่าง รวมราคา ทั้งชุดเมนูหลักแล้ว จะตกที่ประมาณ ๑๕๐ – ๓๐๐  บาท 

ป้ายบอกการเข้าสู่ เขตพื้นที่ชุมชนต้นแบบด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ยั่งยืน โดย ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม   ซึ่ง เป็นเส้นทางตัดผ่าน   ชุมชนบ้านแม่แจ๋ม  หมายเลข ๑๒๕๒

ไร่เพาะปลูกสตอเบอรี่   กลุ่มเกษตรกร ชาวเขา ชุมชนบ้านป่าคา สันติ  จากบริเวณทางเข้า ศาลาประชาคมประจำหมู่บ้าน ด้านซ้ายมือ ก่อนถึง ป้ายบอกชุมชนต้นแบบ ฯ   ตรงเข้าไป ประมาณ  ๕๐๐  เมตร  จะเจอทางเลี้ยวเข้า ด้านขวามือ (ฝั่งเดียวกันกับศาลาประชาคมหมู่บ้านชุมชนบ้านแม่แจ๋ม ตรงบริเวณทางแยกปากทางเข้า  ศาลาประชาคม  หมู่บ้าน) ไม่มีป้ายบอกทางเข้า ไร่เพาะปลูก   สตอเบอรี่  จะมีทางเดินเข้า หรือ  สามารถนำรถยนต์เข้าไปได้     ประมาณ ๑๐๐ เมตร โดย การขายสตอเบอรี่  สามารถ  ซื้อสด   ได้  ๒  ลักษณะ  คือ แบบซื้อตรงจากจุดวางขาย  ซึ่งได้จัดเก็บ  ทำการคัดแยก เตรียมไว้  เรียบร้อย   แล้วโดย เกษตรกรเจ้าของไร่, แบบเก็บด้วยตนเอง ตามความพอใจ  หรือ ตามความต้องการ โดยนำอุปกรณ์ ที่ ทางเกษตรกร ชาวไร่  จัดเตรียมไว้ให้   แล้วนำมาคิดราคามาตรฐาน    โดยมีกำหนด เกนฐ์มตราฐาน ดังนี้  ช่วงฤดูหนาว เดือน ธันวาคม  – ต้นเดือนมกราคม จะมีราคาสูง ที่ กิโลละ ๒๐๐ – ๓๐๐  บาท  ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ – เมษายน อยู่ที่ กิโล ละ ๑๐๐ –  ๒๐๐  บาท   โดยวิธีการเก็บรักษา ให้รับประทานได้นาน ๆ  ทำได้โดยการสังเกต ดังนี้ คือ  ๑ หากเป็นลูกสตอเบอรรี้สีแดง สุกปลั่ง ฉ่ำ  จัด  จะเก็บได้ ประมาณ ๑ คืน หรือ ๑ วัน หรือ อาจต้องรับประทานในทันที  (ภาพที่ ๗ – ๙)   ๒. สตอเบอรี่ที่ สีไม่เป็นสีแดงเข้มจัด หรือมีลักษณะ สีกึ่งสุก ดิบ สามรถ เก็บได้ นาน (หากแช่ตู้ทำความเย็น) ๒ – ๓ วัน  เพื่อ รับประทาน.  โดยรวมแล้ว มี ไร่สตอเบอรี่เพื่อเปิดบริการแก่นักท่องเที่ยว ที่สนใจ เข้าเยี่ยมชม และ ซื้อสตอเบอรี่ จากไร่ กลับไปเป็นของฝาก   จำนวน  ๓ แห่ง  แต่ ขณะเดียวกัน มีเพียง ไร่ สตอเบอรี่ เพียง ๑ แห่ง ที่ เป็นที่รู้จักในหมู่ นักท่องเที่ยว ที่เปิดให้บริการ เนื่องด้วย ไร่สตอเบอรี่ อีก ๒ แห่ง ที่เลหือ ไม่เป็นที่รู้จัก และ มีการนำเสนอ แนะนำ แก่นักท่องเที่ยว  หรือ ป้ายบอกเส้นทาง เข้าเยี่ยมชม แก่ เจ้าของผู้เป็นเกษตรกร ไร่สตอเบอรี่ ในช่วงฤดูกาลหลัก สำหรับการเก็บเกี่ยวสตอเบอรี่ นั้น จะมีจุดหลัก ๆ ที่ส่งขาย คือ  โรงพยาบาลเมืองปาน  และ ส่งขาย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่ง ไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงเป็นสาเหตุ ของราคา ที่สูง

ร้านกาแฟสด ชื่อ  จันทร์ศิริ  ๑ ใน ร้านกาแฟ  ที่มีบรรยากาศที่ดี เนื่องด้วยทำเลที่ตั้งร้านกาแฟสด จันทร์ศิริ  ติด กับ ลำธาร สายหลัก ที่พาด

ผ่าน หมู่บ้าน และตัดผ่าน  เส้นทางโครงการหลวง ที่เป็นถนนตัดผ่าน  หมายเลข  ๑๒๕๒   และ ถือเป็น ร้านแรก  ที่ตั้งติดริมถนน ฝั่งซ้ายมือ

นับจาก ศาลาประชาคมประจำหมู่บ้าน  ศาลาพักริมทาง ข้ามตัดผ่านลำธาร

เหล้ายาดองสมุนไพร  ๓๕ ดีกรี   ภมิปัญญา ท้องถิ่น  การนำวัตถุดิบ ที่มี ในธรรมชาติ    คือ ผลบ๊วยดิบ จากต้น ที่เริ่มแก่  นำมาผสมเหล้ากลั่น  แล้วเพาะบ่มไว้  เป็นระยะเวลายาวนาน ถึง ๖ เดือน จึงจะ ได้ที่ กับรสชาติ พร้อมคุณประโยนช์  คือ ช่วยในเรื่องขังการเนเลือดลม ไม่ติดขัด บำรุงสุขภาพ  ให้กระปี้กระเปล่า   มีรสชาติ หวาน ออกเปรี้ยว นิด  ๆ  และ อาจฟาดบาง   หอมกินผลบ๊วยที่ถูกดอง มายาวนาน

ใบต้นเจียวกู่หลาน  พืชสมุนไพร ที่ขึ้นอยู่ทั่วไป และ พบได้ง่าย ตามสวนกาแฟ  และตามเส้นทางเดินป่า ตามลำธาร   ที่ตั้งในชุมชน โดยเฉพาะ ในแถบ ชุมชนบ้านปางใหม่  พบว่ามีขึ้นทั่วไป จำนวนมาก

แปลงปลูกพืชสมุนไพร  เลือดมังกร ซึ่ง ถือเป็นสมุนไพรที่มีศัพท์คุน  ที่ยอดเยี่ยม แต่ไม่มีปรากฏ การนำมาทำเป็นสินค้า วาจำหน่ายในชุมชน แพร่หลาย หรือเป็นที่รู้จัก จากการสอบถามพบว่า ชาวชุมชน นิยมเพียงปลุกรับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง เท่านั้น มิได้ นำมาแปรรูปออกขาย  อย่างเป็นร่ำเป็นสัน ที่รู้จัก กัน ที่ จังหวัดเชียงใหม่

มาปิดท้ายกันกับ น้ำตกขาอ่อน  อยู่ห่างจากบริเวณหมู่บ้าน 500 เมตร เป็นน้ำตกอยู่ท่ามกลางป่าเขาที่อุดมสมบูรณ์มาก

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *